สุขภาพจิต

เปิดวิธีคุยกับคนซึมเศร้าอย่างเข้าใจ ก่อนคำพูดจะทำร้ายอย่างไม่ตั้งใจ

อย่าให้คำพูดกลายเป็นยาพิษ เพราะคำพูดเพียงประโยคเดียว อาจเป็นจุดเริ่มต้นของการเยียวยา หรือตอกย้ำความเจ็บปวดภายในจิตใจ

ความเหงา ร้ายแรงเท่ากับ สูบบุหรี่วันละ 15 มวน หรือดื่มเหล้าวันละ 6 แก้ว

เปิดตัวแคมเปญ “เดือนการฟังแห่งชาติ” ครั้งแรกของไทย ติดอาวุธทักษะการรับฟัง–สร้างความสัมพันธ์ที่ดี ผ่าน 75 กิจกรรม ทั้งออนไซต์–ออนไลน์ ตลอดเดือน พ.ย. 67 มุ่งสร้างสังคมสุขภาวะทางปัญญาที่ยั่งยืน

เป็นวัยรุ่นมันเจ็บปวด กรมสุขภาพจิตเผย วัยรุ่นเครียดแซงวัยทำงาน 4 เท่า!

วัยรุ่นต้องเผชิญกับแรงกดดันหลายด้าน ทั้งการเรียน ความคาดหวังจากครอบครัว และการใช้สื่อสังคมออนไลน์ จิตแพทย์ แนะ พ่อแม่ต้องเป็นเซฟโซนให้ลูก หลังเด็กรุ่นใหม่เครียดหนัก

เช็ก 2 อาการหลักสัญญาณเตือน “โรคซึมเศร้า” ที่พบได้ทุกวัย

​ในปัจจุบันการรับรู้ของคนในสังคมเกี่ยวกับโรคซึมเศร้ามีเพิ่มมากขึ้น สัญญาณเตือนของโรคซึมเศร้าในแต่ละช่วงวัยอาจแตกต่างกันเล็กน้อย แต่มีอาการผิดปกติที่อาจพบได้ในทุกช่วงวัย

BMHH เปิดศูนย์โรคซึมเศร้าครบวงจร รองรับอนาคตคนป่วยเป็นซึมเศร้าเพิ่ม!

BMHH เปิดศูนย์โรคซึมเศร้าครบวงจร ให้บริการครอบคลุมทุกมิติการรักษา คนไทยซึมเศร้าพุ่ง! ห่วงผู้ป่วยไม่พบแพทย์ปัญหาลุกลาม ย้ำตรวจหาโรคเร็วหายได้

พนง.ออฟฟิศ 42.7% รู้ตัวมีปัญหาสุขภาพจิต แต่ฝืนไปทำงาน เหตุ งานเร่ง-คิดว่ายังไหว

สสส. สานพลัง คณะจิตวิทยา จุฬาฯ เปิดรับสมัครองค์กรเข้าร่วมคัดเลือกเป็น “สุดยอดองค์กรสร้างเสริมสุขภาวะทางจิต” มุ่งขยายผลต้นแบบด้านการส่งเสริมสุขภาวะที่ดีสังคมแรงงาน

เด็กก็หมดไฟได้ “ภาวะหมดไฟในการเรียน” โดยไม่รู้ตัว (Academic Burnout)

ชีวิตในวัยเรียนเป็นช่วงเวลาที่มีทั้งความสนุก ความเศร้า ความเครียดจากการเรียน จึงทำให้เด็กบางคนอาจหมดแพชชั่นในการเรียน และอาจทำให้เด็กกลุ่มนี้เป็นภาวะหมดไฟในการเรียนโดยไม่รู้ตัว (Academic Burnout)

สำรวจสิ่งที่ซ่อนอยู่ในจิตใจ “โรคจิตหลงผิด”

เคยเจอคนที่หลงตัวเองคิดว่ามีคนแอบชอบ แอบรัก หรือคิดว่าตัวเองเป็นพวกมีอิทธิพล มีอำนาจรู้จักคนใหญ่คนโต หรือเคยเจอคนที่คิดว่าตัวเองเจ็บป่วยหนัก คนเหล่านี้มีอาการป่วยทางจิตที่เรียกว่า “โรคจิตหลงผิด”

ปัญหาสุขภาพจิต และโรคติดต่อทางเพศ ชาว LGBTQIAN+ 

ปัญหาสุขภาพของกลุ่มหลากหลาย เป็นปัญหาที่ควรให้ความใส่ใจมเนื่องจากกลุ่มหลากหลายเหล่านี้ควรได้รับสิทธิในการรักษาที่เท่นเทียมและไม่ควรถูกเลือกปฏิบัติ

"รอยยิ้ม" ที่แฝงไว้ด้วยความเศร้า "Smiling Depression"

"Smiling Depression" เศร้า ทุกข์ กดดันแต่ไม่แสดงออก ไม่อยากให้ใครรู้ เพราะไม่อยากกลายเป็นภาระ ไม่อยากให้ใครเป็นห่วง