หลายคนปากหนัก ลำบาก งานล้นยังไงก็ไม่เอ่ยปากขอความช่วยเหลือจากใคร ไม่ใช่เพราะหยิ่งแต่อย่างใด จริงๆ แล้วการขอความช่วยเหลือเป็นเรื่องยาก และเราต่างคิดกันไปเองว่าจะทำให้อีกฝ่ายลำบาก
หลายคนคงเคยเจอเพื่อน คนใกล้ตัว หรือแม้กระทั่งคนดังมีอำนาจทำตัวงอแงเมื่อพวกเขาแพ้ในการแข่งขัน ทำความเข้าใจผู้เป็นโรคหลงตัวเอง (Narcissistic Personality Disorder หรือ NPD
นิสัยที่พูดว่า “ฉันจะมีความสุขเมื่อ…” ทำให้เราโหยหาและค้นหา แทนที่จะเพลิดเพลินและใช้ชีวิต เพราะทุกครั้งที่เราพูดว่า เราจะมีความสุขในชีวิต นั่แปลว่า ณ ขณะนี้เราไม่มีความสุข
ความเหงาเป็นปัจจัยเสี่ยงสำหรับโรคหัวใจ ที่สูงกว่าอาหาร การออกกำลังกาย การสูบบุหรี่ และภาวะซึมเศร้า แต่ก็เป็นปัจจัยที่น้อยกว่าเมื่อเทียบกับการทำงานของไต คอเลสเตอรอล และค่าดัชนีมวลกาย
ก่อนที่จะกำหนดกลยุทธ์สร้างแรงจูงใจ ต่อไปนี้คือกับดักแรงจูงใจ 4 ประการ และแต่ละกลยุทธ์ที่กำหนดเป้าหมายเพื่อช่วยให้พนักงานของคุณหลุดพ้นจากสิ่งเหล่านี้
เผยผลสำรวจ เมื่อรู้สึกอยากหนีวันแย่ๆ ผู้คนหันมาสนใจเปิดหนังสืออ่านมากกว่าออกไปดูหนัง หรือเล่นโซเชียลมีเดีย เป็นอันดับสอง รองจากดูทีวี
ทำความเข้าใจความเจ็บปวด และการรับมือความเศร้า เพระเราไม่ได้โดดเดี่ยว หรืออยู่ตัวคนเดียวกับ 5 Stages of Grief หรือ 5 ระยะ ก้าวผ่านความสูญเสีย
หลายคนคงเคยได้ยินปรากฎการณ์ “ดันนิง-ครูเกอร์” (Dunning-Kruger effect) ทฤษฎีทางจิตวิทยาที่อธิบายว่า ทำไมบางคนโง่แต่ยังอวดฉลาด
สิ่งที่ทำให้โจทย์ข้อนี้ยากก็คือการตอบสนองที่เป็นไปตามสัญชาตญาณ เพราะมันวาบขึ้นมาในหัวเร็วกว่าการตอบสนองที่ถูกต้อง
ไม่ว่าจะผ่านไปกี่ปีมักจะมีผู้เสียหายจากการหลงเชื่อลงทุนในบริษัทที่ต่อมากลายเป็นแชร์ลูกโซ่ ทำความเข้าใจจิตวิทยาของการหลงเชื่อเรื่องปั้นน้ำเป็นตัว เมื่อคนเราต่างหลุดหลงไปเชื่อเรื่องไม่จริงได้ทั้งนั้น