สุขภาพจิต

"ให้ตายก็ไม่จับมือกัน" เปิด 9 เหตุผล ทำไมเราถึงเหม็นหน้าใครต่อใครไปทั่ว

ต่อหน้ายิ้มให้ ในใจคว่ำปากใส่ ทำไมคนเราถึงไม่ชอบหน้าใครต่อใครมากมาย ทั้งที่รู้จักหรือยังไม่ทันรู้จักกันก็ไม่ชอบเขาไปแล้ว ทำความเข้าใจ 9 เหตุผลที่เราเกลียดคนไปทั่ว!

"ใช้ชีวิตให้เต็มที่ อีกไม่นานก็ตายแล้ว" ความจนเร่งให้ต้องใช้ชีวิต

ความเหลื่อมล้ำมีตรรกะเฉพาะตัว ความเหลื่อมล้ำคล้ายคลึงกับความยากจนในใจ หากอุดมสมบูรณ์และชีวิตดูมั่นคง เราก็น่าจะอายุยืนยาวและสุขภาพดี หากเป็นช่วงแร้นแค้นจะรีบคว้าทุกอย่างสนองความต้องการทันที

"อีกหน่อยเธอคงเข้าใจ" อีกหน่อยอีกนานแค่ไหน

รอแป๊ป รอหน่อย อีกสักแป๊ป อีกหน่อย จริงๆแล้วนานแค่ไหน? คำว่า ช่วงเวลาแป๊ปๆตรงนั้นจริงๆแล้วมีค่าเท่ากับ 90 วินาที

เพราะอะไร เราถึงอินกับเพลงเศร้า แม้ไม่ได้อกหัก

เคยเป็นไหม ไม่ได้อกหัก แต่อินเพลงเศร้า แม้เนื้อร้องไม่ตรงกับชีวิตเลย แต่เข้าอกเข้าใจ น้ำตาไหลพราก ทำไมกันคนเราถึงต้องอินเพลงเศราได้ขนาดนั้น

นอกจาก IQและEQ แล้ว ทำความเข้าใจ RQ พลังสุขภาพจิตหรือควมสามารถทางจิตใจ

พลังสุขภาพจิต หรือที่เรียกว่า RQ: Resilience Quotient คือความสามรถทางอารมณ์และจิตใจในการปรับตัวและฟื้นตัวกลับสู่ภาวะปกติ ภายหลังที่พบกับเหตุการณ์วิกฤตหรือสถานการณ์ที่ก่อให้เกิดความยากลำบากในชีวิต

ผิดมากไหมที่ "ไม่ทำ" ตามคำสัญญา?

สุภาษิตที่ว่า "ก่อนจะพูดเราเป็นนาย แต่พูดไปแล้ว คำพูดกลายเป็นนายเรา" แต่เมื่อบางคำสัญญาก็สำคัญ บางคำสัญญาก็ไม่ได้มีค่ามากนัก ผิดมากไหม ที่ไม่ทำตามคำสัญญา

จะเปลี่ยนใจคนได้อย่างไร เมื่อจุดยืนทางการเมืองคืออัตลักษณ์ของเรา

ทำอย่างไรให้คนเห็นต่าง กลายเป็นเห็นตามได้ จุดยืนทางการเมืองของเขาหรือผู้นำพรรคการเมืองของเขาคือ สิ่งที่ท้าทายอัตลักษณ์ของเขา

อุดมการณ์ทางการเมือง ถูกกำหนดมา "ตั้งแต่เกิด"

ความเห็นต่างทางการเมืองในครอบครัวเป็นปัญหาในหลายๆ บ้านที่ต้องเผชิญ ความเห็นต่างเรื่องการเมืองทำให้เราถึงขั้นอยากทึ้งผมตัวเอง งงงวยไม่เข้าใจทำไมอีกฝ่ายถึงไม่ยอมตาสว่าง หรือทำไมอีกฝ่ายถึงเห็นผิดเป็นถูก

อินการเมืองจนเครียดเฉียบพลัน ระวังหลอดเลือดสมองแตก!

ภาวะเครียดฉับพลัน เกิดขึ้นได้ทุกคน และยังส่งผลกระทบต่อร่างกาย รวมถึงจิตใจ อาจเกิดจากประสบการณ์หรือการเผชิญหน้ากับเหตุการณ์กระทบกระเทือนจิตใจในอดีต

เบิร์นเอาท์จากงาน ยังต้องรับมือ"เพื่อนร่วมงาน" ร้องขอความช่วยเหลือมากเกินไป

เมื่อตกอยู่ในสถานการณ์ที่เพื่อนร่วมงานขอความช่วยเหลือมากเกินไป ลองใช้เทคนิค 20/80 คือ ตอบ "ไม่" 20% และ 80% ให้หาทางเลือกอื่น