เงินเฟ้อ

เศรษฐกิจเยอรมันเข้าสู่ภาวะถดถอยอย่างเป็นทางการแล้ว GDP หดตัวสองไตรมาสติดจากเงินเฟ้อ

เยอรมนี ชาติเศรษฐกิจเบอร์หนึ่งของยุโรป เข้าสู่สภาวะเศรษกิจถดถอยอย่างเป็นทางการแล้ว หลัง GDP ไตรมาสแรกของปี 2023 หดตัว 0.3% ต่อเนื่องจากการหดตัวของไตรมาส 4 ในปีก่อนหน้า

คาด กนง. ขึ้นดอกเบี้ยอีก 0.25%

กสิกรไทย คาด กนง. ขึ้นดอกเบี้ยครั้งสุดท้ายอีก 0.25% มาอยู่ที่ระดับ 2.00% ในการประชุม 31 พ.ค. 66 นี้

SCB EIC คาดวัฏจักรดอกเบี้ยไทย จะสิ้นสุดที่ 2.5% มองเงินเฟ้อยังกดดันเศรษฐกิจ

เศรษฐกิจไทยฟื้นตัวดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง แต่ยังมีความเสี่ยงจากแรงกดดันเงินเฟ้อ โดย SCB EIC ประเมินว่า Neutral rate ของไทยล่าสุดมีแนวโน้มอยู่ที่ 2.5%

เงินเฟ้อยังเสี่ยงสูงจากต้นทุนของผู้ประกอบการเพิ่มขึ้น

อัตราเงินเฟ้อไทยในอนาคตยังสูง เนื่องจากผู้ประกอบการมีต้นทุนสูงทำให้ต้องขึ้นราคาสินค้า สอดรับกับ กนง. ขึ้นดอกเบี้ย 2% เพื่อกดเงินเฟ้อ

ราคาน้ำมัน-อาหารชะลอตัว กดเงินเฟ้อต่ำสุดในรอบ 16 เดือน

เงินเฟ้อไทยเริ่มคลี่คลาย เดือนเม.ย.แตะ 2.7% ขยายตัวลดลงเป็นเดือนที่ 4 ผลจากราคาน้ำมัน และสินค้ากลุ่มอาหารขาลง จับตาภัยแล้งดันราคาสินค้าเกษตรเพิ่ม

เศรษฐกิจโลกผันผวนฉุดส่งออกติดลบ 4.2 % ลุ้นอีก 9 เดือนพลิกบวกตามเป้า

เกาะติดส่งออกไทยยังไร้ปัจจัยบวกไตรมาสแรกติดลบ แม้เดือนมี.ค.ทำมูลค่า 2.74 หมื่นล้านเหรียญสหรัฐสูงสุดรอบ 12 เดือนจากหมวดสินค้าเกษตร

อัตราเงินเฟ้อชะลอลง คาด กนง.ชะลอขึ้นดอกเบี้ย

อัตราเงินเฟ้อทั่วไปเดือนมี.น.ต่ำสุดในรอบ 15 เดือน หนุนให้กนง.คงดอกเบี้ยไว้ที่ 1.75% ในการประชุมปลายเดือนพ.ค. นี้

ราคาน้ำมันแพงไม่หยุดเสี่ยงดันเงินเฟ้อไทยสูงรอบใหม่

คาด กนง. ขึ้นดอกเบี้ยเดือนหน้า สกัดเงินเฟ้อสูงรอบใหม่หลังราคาน้ำแพงไม่หยุด

น้ำมัน-อาหารชะลอตัว กดเงินเฟ้อเดือนมี.ค.ต่ำสุดรอบ 15 เดือน

พณ.หั่นเงินเฟ้อปีนี้เหลือ 1.7-2.7% หลังลดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 3 เหตุราคาน้ำมัน -กลุ่มอาหารทุกหมวดปรับตัวลดลง ชี้แนวโน้มเข้าโหมดขาลงชัดเจน

ส่งออกอ่วมเดือนก.พ.ติดลบ 4.6% รับแรงกดดันเศรษฐกิจโลกชะลอฉุดดีมานด์ทรุด

ภาพรวมส่งออก 2 เดือนติดลบ 4.7% สินค้าอิเล็คทรอนิกส์-เครื่องใช้ไฟฟ้าออเดอร์หาย หลังคู่ค้าเผชิญปัญหาเงินเฟ้อ-ดอกเบี้ยขาขึ้น ส่วนสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรมสวนทางกลับมาบวก