โควิด

ปลัดสธ. เผย ไทยปรับฉีดวัคซีนปีละเข็มคู่กับไข้หวัดใหญ่ ชี้ โรคไม่หายไปไหน

ปลัดสธ. เผย "WHO" ประกาศยุติภาวะฉุกเฉินในวิกฤตโควิด-19 แล้ว สัญญาณดีพ้นการระบาดใหญ่ เลิกตรวจเชื้อ-ดูประวัติวัคซีน ชี้ โรคไม่หายไปไหน

กทม.เปิดฉีดวัคซีนโควิด-19 เช็คเลยมีที่ไหนบ้าง 

กรุงเทพมหานคร เปิดให้บริการฉีดวัคซีนโควิด-19 นอกสถานที่ สามารถ Walk in เข้ารับบริการได้ เช็คเลยมีที่ไหนบ้าง 

โควิด XBB.1.16.x ในอินเดีย พบอัตราตายร้อยละ 2.5

1 ใน 3 ของกลุ่มที่มานอนรักษาตัวในโรงพยาบาลจากการติดเชื้อสายพันธุ์ XBB.1.16.x นั้น ต้องได้รับออกซิเจน จาก 276 คน ตายไป 7 คน

เปิดผลสอบ หนุ่มเมียนมาเสียชีวิต จากโควิด XBB.1.16.1 เหตุไม่เคยรับวัคซีนเลย 

กรมควบคุมโรค เปิดผลสอบ หนุ่มเมียนมา เสียชีวิตจากโควิดสายพันธุ์โอมิครอน XBB.1.16.1 พบปอดอักเสบรุนแรงก่อนเสียชีวิต เหตุไม่เคยรับวัคซีนเลย ย้ำวัคซีนยังสำคัญ 

เช็คอาการโควิดสายพันธุ์ใหม่ เยื่อบุตาอักเสบ ไอ ไข้ตัวร้อน

สถานการณ์โควิด19 ในประเทศไทยตอนนี้นับเป็นที่ต้องเฝ้าจับตาดู เพราะหลังผ่านช่วงเทศกาลสงกรานต์ไปแล้ว การแพร่กระจายเชื้อนับว่ามีความรุนแรงขึ้น จึงต้องเฝ้าระวังกับการระบาดของเชื้อโควิด 19

สธ.แนะฉีดวัคซีน “โควิด” ประจำปี แนวโน้มผู้ป่วยเพิ่มขึ้น

สธ.แนะฉีดวัคซีนโควิดประจำปี หลังแนวโน้มผู้ป่วยเพิ่มขึ้น คาดระบาดสูงช่วงฤดูฝน

กรมการแพทย์เปิดจุดฉีดวัคซีนโควิด 19 ทั้งกทม. และต่างจังหวัด 15 จุด

กรมการแพทย์เปิดจุดฉีดวัคซีนโควิด 19 หน่วยงานในสังกัด สร้างภูมิคุ้มกัน เพิ่มความปลอดภัยจากแนวโน้มการแพร่ระบาดของโควิดสายพันธุ์ใหม่หลังวันหยุดยาวเทศกาลสงกรานต์ที่ผ่านมา

แพทย์ชนบทเตือน "ฉีดวัคซีนเข็มกระตุ้น" เท่าที่จำเป็น!

ให้ยึดตามการจำแนกของผู้เชี่ยวชาญด้านวัคซีนโควิดองค์การอนามัยโลก มุ่งเน้นไปที่ปกป้องกลุ่มคนความเสี่ยงสูง ส่วนกลุ่มประชากรอื่นให้แต่ละประเทศพิจารณาตามความเหมาะสม

สธ.ห่วงยอดโควิดพุ่งหลังสงกรานต์ แนะสังเกตอาการ ตรวจATKก่อนทำงาน

กระทรวงสาธารณสุข หวั่นยอดผู้ป่วยโควิด-19 พุ่งสูง หลังประชาชนเดินทางท่องเที่ยวช่วงเทศกาลสงกรานต์ แนะให้สังเกตอาการตนเอง หากพบว่ามีอาการป่วยให้ตรวจ ATK ก่อนเริ่มกลับเข้าทำงาน 

โควิด XBB.1.16 “ทำเยื่อบุตาอักเสบ" หวั่นเป็นสายพันธุ์หลักในไทย

โควิด XBB.1.16 มีอาการไข้สูง และเยื่อบุตาอักเสบ เป็นหนึ่งในอาการที่ไม่พบบ่อยในโควิดสายพันธุ์ต่าง ๆ แต่พบในโควิด XBB.1.16 โควิดสายพันธุ์นี้ “มีฤทธิ์ต้านทาน” แอนติบอดีโควิด-19 ที่มีอยู่ในปัจจุบัน