จิตวิทยา

ดูหนัง ฟังเพลงเดิมซ้ำๆ คืออาการทางจิต?

หนังเรื่องโปรด ซีรีย์ในดวงใจ เพลงที่เปิดวนซ้ำๆ ทำไมเราถึงใช้เวลาว่างไปกับเรื่องราวที่เรารู้อยู่แล้วพวกนี้ เหตุผลที่ชัดเจนที่สุดคือเหตุผลเดียวกันกับที่เราชอบเรื่องราวนั้น และกลับมาดูมันอีกครั้ง

อยากสร้างพฤติกรรมจนเป็นนิสัย “กฎ 21 วัน“ นั้นใช้ไม่ได้ผล!

ความเชื่อที่ว่าอยากสร้างนิสัยต้องทำติดต่อกัน 21 วันนั้นใช้ไม่ได้ผล ไม่ว่าจะฝืนเข้ายิมมา 21 วันติดต่อกันอย่างไร วันที่ 22 ก็ยังต้องฝืนอยู่ดี สรุปแล้วต้องใช้เวลากี่วันถึงจะกลายเป็นนิสัย ไม่ต้องฝืน

เมื่อชีวิตจริงรับรู้ความรู้สึก “น้อยกว่า” ชีวิตออนไลน์

โลกออนไลน์สมัยนี้มีเรื่องสนุกให้เราได้ดู ได้เสพมากขึ้น และได้รับการตอบสนองเร็วขึ้นเรื่อยๆ ไม่ว่าจะโพสต์รูป แสดงความคิดเห็น แม้กระทั่งคุยข้อความก็สามารถตอบรับได้ทันใจ โดนใจเรามายิ่งขึ้น

ทำอย่างไรให้รู้สึก “ภาคภูมิใจในตัวเอง” ให้ความเคารพต่อตัวเอง

Self Esteem หรือ ความภาคภูมิใจในตัวเอง คือ ความคิดเห็นที่มีต่อตัวเอง ซึ่งส่งผลต่อความกระตือรือร้นในการใช้ชีวิต รวมถึงการรับมือกับอารมณ์และสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น

Sad after Sex: เศร้าใจแม้จะเพิ่งสุขสม

เซ็กส์ควรจะมอบความรู้สึกสุขใจให้เรา แต่กลับมอบความรู้สึกเศร้าใจแทน โปรดจงเข้าใจ คุณไม่ได้เศร้าแค่คนเดียว

ฝึกเป็นคนมั่นใจ ไม่กลัว พกความมั่น รักตัวเอง

หากฝึกใช้ประโยคทั้ง 9 ประโยคนี้ทุกวัน ‘คุณจะมีความมั่นคงทางอารมณ์มากกว่าคนส่วนใหญ่’คำแนะนำจากนักจิตวิทยาที่ผ่านการฝึกอบรมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด

อยากเพิ่มความโรมานซ์ ลองชวนสาวไปดูหนังสยองขวัญ

การชวนไปดูภาพยนตร์ถือเป็นแผนแรกๆสำหรับคู่รัก หลายคนวางแผนถึงขั้นชุดที่จะใส่ เวลาที่ไปดู แต่อยากให้รู้ไว้ว่าประเภทภาพยนตร์ที่เลือกก็ส่งผลต่ออารมณ์ของอีกฝ่ายเช่นกัน

แยกให้ออก อารมณ์ไม่ดี หรือ อารมณ์เชิงลบที่ไม่ดีต่อสุขภาพ

Unhealthy VS Healthy Negative Emotion เมื่ออารมณ์เชิงลบสามารถช่วยบำบัดจิตใจได้เช่นกัน

ความเฉื่อยชาใน “วัยกลางคน” ที่ใครๆ ต้องพบเจอ

ต่อสู้กับความซบเซาในวัยกลางคน จัดการกับเป้าหมายยุบยิบทิ้งไป แล้วหันหน้าโฟกัสกับสิ่งสำคัญให้บรรลุ หรือไม่ก็ไม่ต้องทำอะไรเลย

เห็นอกเห็นใจคนอื่น จนตัวเองเหนื่อยล้า

โลกเต็มไปด้วยปัญหา และการเสนอข่าวร้ายที่พบได้ทุกวัน รวมทั้งเรื่องจากคนใกล้ตัวที่เราห่วงใย ส่งผลให้หลายคนเกิดอาการ “ความเหนื่อยล้าจากความเห็นอกเห็นใจ”